มรดกทางพุทธศาสนาที่สูญหายไปของเกาหลี
สัปปุริสธรรม 7 ธรรมของสัตบุรุษ
บทธรรมแต่ละหมวด ที่พระสัมมาสัมพุทธเจ้า พระองค์สอนไว้แล้วมีบันทึกในพระไตรปิฎก ล้วนคือ “ขุมทรัพย์ใหญ่ของมวลมนุษยชาติ” ความรู้ทางโลกที่หมุนเวียนเปลี่ยนไปเรื่อย แต่ความรู้ในพระไตรปิฎกเป็น
ปัญหาในการเผยแผ่พระพุทธศาสนา
ปัญหาในเมืองไทยหรือปัญหาในโลกนี้ ที่เป็นประเด็นใหญ่คือ คนส่วนมากแยกไม่ออกว่า อะไรจำเป็นสำหรับชีวิต หรืออะไรเป็นของฟุ่มเฟือย
เส้นทางแห่งสันติภาพ ที่เริ่มต้นด้วยเสียงดนตรี
ตอนนี้กระแสการร้องเพลง Change the world ในประเทศไทย กำลังขยายไปยังเด็กนานาชาติจากแรงบันดาลใจที่ตะวันธรรมได้ประพันธ์เนื้อเพลง ทำให้เกิดการรวมตัวกันของเหล่านักร้องเพื่อสันติภาพโลก
หริตมาตชาดก-ชาดกว่าด้วยผู้มีอิสรภาพ
ณ แคว้นโกศล พระเจ้ามหาโกศลได้พระราชทานพระธิดาผู้มีสิริโฉมงดงามให้กับพระเจ้าพิมพิสาร อีกทั้งยังได้ประทานหมู่บ้านกาสีเป็นข้าทรงสนานแก่พระราชธิดาด้วย ทั้งสองพระองค์ครองรักกันอย่างมีความสุข
การตลาดเพื่อสังคม
ในระยะเวลาหลายปีที่ผ่านมา หลายท่านคงเห็นองค์กรต่างๆ ทั้งภาคธุรกิจและภาครัฐ ทำความดีกันมากมายเพื่อสังคม ไม่ว่าจะเป็นการปลูกป่าเฉลิมพระเกียรติ หรือว่ามอบทุนการศึกษาสนับสนุนกิจกรรมต่างๆ ทางด้านกีฬาและดนตรี กิจกรรมเหล่านี้เรียกว่า
มโนชชาดก-ชาดกว่าด้วยคบคนชั่วไม่ได้ความสุขที่ยั่งยืน
สมัยนั้นมีสหายสองคนผู้เป็นชาวเมืองราชคฤห์ ในสองสหายนั้น คนหนึ่งบวชในสำนักของพระศาสดาอีกคนหนึ่งบวชในสำนักของพระเทวทัต สหายทั้งสองนั้นย่อมได้พบเห็นกันและกันอยู่เสมอ แม้ไปวิหารก็ยังได้พบเห็นกัน ภิกษุที่ออกบวชในสำนักพระศาสดาต้องปฏิบัติกิจสงฆ์ออกบิณฑบาต ปฏิบัติธรรมอยู่เป็นนิจ ส่วนภิกษุที่บวชในสำนักของพระเทวทัตนั้นไม่ต้องออกไปบิณฑบาต เพราะจะมีคนจัดสำรับไว้ให้ในโรงฉันเรียบร้อย
พระมหาธาตุเจดีย์ชเวดากอง
เจดีย์ชเวดากอง ประวัติเจดีย์ชเวดากอง พระมหาธาตุเจดีย์ชเวดากอง รวมภาพเจดีย์ชเวดากอง เจดีย์ชเวดากอง ประเทศพม่า พระมหาธาตุเจดีย์ชเวดากอง เมืองย่างกุ้ง ประเทศพม่า
วานรินทชาดก-ชาดกว่าด้วยธรรมของผู้ล่วงพ้นศัตรู
พุทธกาลสมัยในขณะที่พระธรรมคำสอนแห่งองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าขจรขจายไปทั่วแว่นแคว้นดินแดนชมพูทวีป ยังความร่มเย็นเป็นสุขด้วยรสแห่งธรรมที่องค์พระศาสดาตรัสรู้นั้น แผ่นดินมคธกลับผลัดเปลี่ยนอำนาจจากพระเจ้าพิมพิสารอันเป็นองค์ศาสนูปถัมภกมาเป็นโอรสนามพระเจ้าอชาตศัตรู
สัตตปัตตชาดก ชาดกว่าด้วยความสำคัญผิด
ข้อวินัยให้สงฆ์สาวกปฏิบัติแต่ละบทนั้น มักเกิดขึ้นเพื่อแก้ไขข้อบกพร่องไม่เหมาะสมเป็นกรณีๆ ไป พุทธกาลครั้งหนึ่งก็เป็นดังนั้น พุทธวินัยครั้งนี้เกิดขึ้นเพราะพระฉัพพัคคีย์ 2 รูปล่วงพระวินัยข้อยึดถือในทรัพย์ มิได้ปล่อยวาง ปล่อยตัวปล่อยใจไปกับกิเลส ภิกษุผู้ก่อเหตุที่ว่านี้ชื่อ พระปัณฑกะ และพระโลหิถกะ